จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราสัมผ ัสกับสนามไฟฟ้าและสนามแม่เห ล็ก ? - โดยธรรมชาติในร่างกายของคนเ ราจะมีกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในกา รดำรงชีวิตและเป็นส่วนที่สำ คัญ ร่างกายจะถูกสั่งงานด้วยการ กระตุ้นของกระแสไฟฟ้าผ่าเส้ นประสาททั้งหลายเพื่อให้ร่า งกายทำงานอย่างปกติ ปฏิกริยาทางชีวเคมีส่วนใหญ่ จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการทา งไฟฟ้าตั้งแต่กระบวนการย่อย อาหารจนถึงการทำงานของสมอง - ผลกระทบของการสัมผัสโดยหลัก ๆ แล้วจะขึ้นอยู่กับ ค่าคว ามถี่ และ ขนาด ของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ ก ณ ค่าความถี่ต่ำ (50 Hz) ซึ่งเป็นของระบบส่งจ่ายกระแ สไฟฟ้านั้น สนามไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็กจะผ่านร่างกายไ ป ในขณะที่ ระดับความถี่วิทยุ สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กบา งส่วนจะถูกดูดกลืนผ่านเข้าส ู่ร่างกายของคนเรา - ในทางทฤษฎีจะพบว่าเมื่อเราย ืนอยู่ใต้สายส่งไฟฟ้าแรงสูง ที่มีการติดตั้งตามมาตรฐานแ ล้ว สนามไฟฟ้าจะผ่านร่างกายโดยจ ะมีประจุไฟฟ้ากระจายสะสมบนผ ิวของร่างกายและทำให้มีกระแ สไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงสู่พ ื้นดิน ในขณะที่ สนามแม่เหล็กจะผ่านร่างกายแ ละจะเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไ ฟฟ้าไหลวนภายในร่างกายตามปก ติเหมือนที่ได้รับจากแหล่งก ำเนิดสนามแม่เหล็กที่อยู่ใน ชีวิตประจำวัน - ผลกระทบหรืออันตรายจากสนามไ ฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีต่ อคนและสัตว์ เป็นคำถามที่มีการกล่าวถึงอ ยู่เสมอๆ โดยเฉพาะผู้ที่มีบ้านเรือนห รือที่ทำงานอยู่ใกล้กับสายส ่งไฟฟ้าแรงสูง จะมีความวิตกกังวลถึงอันตรา ยที่อาจจะขึ้นจากสิ่งที่มอง ไม่เห็น ซึ่งในเรื่องนี้ได้มีการศึก ษาวิจัยกันทั่วโลก แต่ก็ยังไม่มีข้อสรุปใดๆ ว่ามีหรือไม่มีอันตรายแต่ปร ะการใด เพราะไม่มีหลักฐานหรือข้อมู ลที่ยืนยันหรือพิสูจน์ได้ชั ดเจน - ปัจจุบันการไฟฟ้านครหลวงได้ มีการติดตั้งระบบส่งจ่ายกำล ังไฟฟ้าตามมาตรฐานและควบคุม ค่าสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ กที่มีความปลอดภัยให้เป็นไป ตามที่องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) กำหนด ซึ่งได้ร่วมกับหน่วยงาน International Commission on Non-Ionizing Radiation Protection (ICNIRP) ทำการวิจัยและพัฒนาด้านความ ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเกี่ย วกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าโดยได ้กำหนดระดับสูงสุดของสนามไฟ ฟ้าและสนามแม่เหล็กที่เกิดจ ากระบบไฟฟ้าความถี่ต่ำ (50 Hz) ที่ประชาชนสามารถสัมผัสได้อ ย่างปลอดภัยไว้ ดังแสดงในตาราง ข้อมูลจาก ... ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของการไฟฟ้านครหลวง
ทำไมสนามแม่เหล็กจึงรบกวนกา รทำงานบนจอคอมพิวเตอร์ ?
- เส้นที่เป็นคลื่นและภาพที่ส ั่นพลิ้วบนจอคอมพิวเตอร์นั้ นเป็นอาการที่สนามแม่เหล็กข องหลอดภาพถูกรบกวนจากสนามแม ่เหล็กภายนอก สนามแม่เหล็กสามารถเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเค รื่องใช้ไฟฟ้าหรือสายไฟฟ้า ดังนั้นสนามแม่เหล็กที่เกิด ขึ้นจากเครื่องใช้ไฟฟ้าและก ารส่งจ่ายไฟฟ้า รวมถึงระบบไฟฟ้าภายในอาคารล ้วนเป็นแหล่งกำเนิดสนามแม่เ หล็กที่สามารถทำให้เ กิดอาการสั่นพลิ้วของภาพบนจ อคอมพิวเตอร์ชนิดหลอดภาพ CRT ได้ทั้งสิ้น โดยทั่วไปสนามแม่เหล็กจะต้อ งมีค่ามากกว่า 10 mG จึงจะทำให้เกิดการสั่นพลิ้ว ของภาพบนจอคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของจ อภาพ โดยจอภาพขนาดใหญ่ (วัดเส้นทแยงมุมของจอภาพหน่ วยเป็นนิ้ว) จะมีความอ่อนไหวต่อสนามแม่เ หล็กมากกว่าจอภาพขนาดเล็ก นั่นหมายถึงจอภาพขนาดใหญ่จะ ถูกรบกวนได้ง่ายกว่า - หากภาพบนจอคอมพิวเตอร์มีอาก ารสั่นพลิ้วจะแก้ไขอย่างไร… ก่อนอื่นต้องพยายามหาแหล่งก ำเนิดหรือตัวสร้างสนามแม่เห ล็กที่ทำให้เกิดการสั่นพลิ้ วโดยการปิดไฟแสงสว่างและเคร ื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ ทีละอย่างและให้สังเกตอาการ สั่นพลิ้วที่เปลี่ยนไป ในกรณีที่เป็นตัวสร้างสนามแ ม่เหล็กเมื่อปิดแล้วอาการสั ่นพลิ้วจะลดลงเมื่อหาแหล่งก ำเนิดสนามแม่เหล็กที่ทำให้เ กิดการสั่นพลิ้วได้แล้ว วิธีการแก้ไข อย่างแรกคือ ให้พยายามย้ายจอคอมพิวเตอร์ หรือแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็ กอย่างใดอย่างหนึ่งให้ห่างจ ากกันจนกว่าอาการสั่นพลิ้วจ ะหมดไป ซึ่งในบางกรณีสามารถแก้ไขอา การสั่นพลิ้วได้โดยง่ายด้วย การเปลี่ยนทิศทางการวางจอภา พ (หมุนจอภาพ) - ถ้าแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก เกิดจากระบบแสงสว่าง ซึ่งส่วนมากมักจะมาจากบัลลา สต์ชนิดขดลวดแกนเหล็ก ในกรณีนี้การเปลี่ยนบัลลาสต ์จากชนิดขดลวดแกนเหล็กเป็นบ ัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สามาร ถลดสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น และช่วยแก้ไขอาการสั่นพลิ้ว ของภาพบนจอได - ในกรณีที่จอภาพและแหล่งกำเน ิดสนามแม่เหล็กไม่สามารถเคล ื่อนย้ายตำแหน่งการวางได้ การปรับความถี่การสแกนหรือก ารกวาดภาพในแนวตั้ง (Refresh rate) ให้มีค่าสูงกว่า50 Hz มากๆ เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถแ ก้ไขอาการสั่นพลิ้วของภาพบน จอได้ เช่น ปรับเป็น 75 Hz หรือ 85 Hz ความถี่ในการสแกนนี้สามารถเ ข้าไปปรับเปลี่ยนได้โดยเข้า ไปที่ Display Properties เลือกเมนู Setting คลิกที่ปุ่มAdvanced เลือกเมนู Monitor แล้วเลือกค่าความถี่ในการสแ กนที่ต้องการในส่วนของMonit or Setting (สำหรับ Microsoft Window) ในบางครั้งการปรับความถี่ใน การสแกนก็ไม่สามารถแก้ไขอาก ารสั่นพลิ้วของภาพบนจอได้เน ื่องจากสนามแม่เหล็กอาจมีค่ าสูงมากในบริเวณนั้น - กรณีที่ตรวจพบว่าแหล่งกำเนิ ดหรือตัวสร้างสนามแม่เหล็กร บกวนมาจากสายตัวนำของการไฟฟ ้า หรืออุปกรณ์ของการไฟฟ้าหรือ มาจากอาคารข้างเคียงให้ปรึก ษาหรือแจ้งการไฟฟ้าในเขตพื้ นที่เพื่อพิจารณาหาแนวทางแก ้ไขต่อไป - มาตรการสุดท้ายในการแก้ไขอา การสั่นพลิ้วของภาพบนจอคอมพ ิวเตอร์ คือ การกำบังหรือชี ลด์ ( Shield )จอคอมพิวเตอร์หรือบริเวณพื ้นที่ใช้งาน ด้วยวัสดุชีลด์ซึ่งเป็นโลหะ ผสมที่มีคุณสมบัติพิเศษในกา รกำบังสนามแม่เหล็ก เช่น แผ่นเหล็กที่ใช้ทำแกนของหม้ อแปลงไฟฟ้ากำลัง เป็นต้น การใช้วัสดุชีลด์สามารถลดทอ นหรือป้องกันการรบกวนจากสนา มแม่เหล็กได้ - การหลีกเลี่ยงการรบกวนของสน ามแม่เหล็ก บนจอคอมพิวเตอร์จากระบบส่งจ ่ายไฟฟ้า ควรหลีกเลี่ยงการใช้งานคอมพ ิวเตอร์ใกล้แนวสายไฟฟ้าของก ารไฟฟ้า หรือ ควรใช้งานห่างจากแนวสายของก ารไฟฟ้าเป็นระยะประมาณ 5 ถึง 15 เมตร ขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทขอ งสายไฟฟ้าหากมีความจำเป็นหร ือหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้อ งใช้งานคอมพิวเตอร์ในบริเวณ ที่มีสนามแม่เหล็กรบกวน ควรเลือกใช้จอคอมพิวเตอร์ที ่เป็นจอภาพชนิด LCD แทนจอชนิดหลอดภาพ CRT เนื่องจากสนามแม่เหล็กไม่มี ผลกระทบต่อการทำงานของจอภาพ ชนิดนี้
จากหนังสือ Power Cables and Their Application หัวข้อ Arrangement of Cable ได้กล่าวถึงวิธีการจัดเรียง สายเคเบิลไว้ดังนี้ 1) การจัดวางสายเคเบิลแบนหรือว างเรียงกัน (Flat Formation) การจัดวางสายเคเบิลแบบ Flat โดยเรียงแบบ (A1)(B1)(C1) – (C2)(B2)(A2) – (A3)(B3)(C3) … (สลับเฟสแบบนี้ไปเรื่อยๆ ตามรูปที่ 1-a) การจัดวางแบบนี้ค่า inductance ของเฟสเดียวกัน (A1=A2=A3…) , (B1=B2=B3…), (C1=C2=C3…) จะมีค่าเท่ากัน ...แต่ค่า inductance รวมของเฟส A = (A1+A2+A3), B = (B1+B2+B3), C = (C1+C2+C3) ของแต่ละเฟสจะไม่เท่ากัน จึงทำให้กระแสโหลดจะแบ่งไหล ภายในเฟสเดียวกันใกล้เคียงก ันแต่กระแสโหลดต่างเฟสกันจะ แตกต่างกันบ้าง *** แต่หากจัดวางแบบ Flat โดยเรียงแบบ ABC – ABC – ABC (ไม่สลับเฟส แต่วางเรียงกันไปเรื่อยๆ ตามรูปที่ 1-b) การจัดวางแบบนี้ นอกจากค่า inductance ของแต่ละเฟส A,B,C จะไม่เท่ากันแล้ว ยังทำให้ค่า inductance ของเฟสเดียวกันก็ยังไม่เท่า กันอีกด้วย ผลที่เกิดคือกระแสโหลดจะไหล ไม่เท่ากันทั้งที่เป็นเฟสเด ียวกัน และต่างเฟสกันก็ไหลไม่เท่าก ันเช่นกัน ... ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบกัน การจัดสายแบบ Flat ในรูปที่ 1-a) จะดีกว่าการจัดวางแบบ Flat ในรูปที่ 1-b) 2) การจัดวางสายเคเบิลแบบสามเห ลี่ยม (Trefoil Formation) การจัดวางแบบสามเหลี่ยม โดยเรียงตามรูปที่ 2-a) การวางแบบนี้จะทำให้ค่า inductance ของเฟสเดียวกัน (A1=A2=A3…) , (B1=B2=B3…), (C1=C2=C3…) จะมีค่าเท่ากัน ซึ่งคล้ายรูปแบบการวางแบบ Flat ตามรูป 1-a) แต่การวางแบบ Trefoil ตามรูปที่ 2-a) นี้ยังสามารถทำให้ค่า inductance ของแต่ละเฟส A,B,C ... (A1+A2+A3) = (B1+B2+B3) = (C1+C2+C3) ในวงจรเดียวกันมีค่าเท่ากัน อีกด้วย *** ส่วนการวางแบบสามเหลี่ยมตาม รูปที่ 2-b) ซึ่งก็คล้ายกับรูปที่ 1-b) โดยจะทำให้ค่า inductance ของเฟสเดียวกันจะไม่เท่ากัน และพลอยส่งผลให้ค่า inductance ของแต่ละเฟส A,B,C ไม่เท่ากันตามไปอีกด้วย ดังนั้นการวางแบบสามเหลี่ยม ตามรูปที่ 2-a) จึงมีการทำให้ค่า inductance ในสายเคเบิลมีค่าที่ต่ำที่ส ุดจึงเหมาะกับการเดินสายในก รณีที่มีโหลดกินกระแสสูงๆ เพื่อลดค่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าเหนี่ยวนำระหว่างสายที่ไม่ สมดุลกันส่งผลให้สายบางเส้น ร้อนกว่าสายเส้นอื่นได้
Circuit Breaker (CB) สำหรับไฟฟ้าแรงสูงมีกี่ประเ ภท และมีพัฒนาการมาอย่างไร ? องค์ประกอบทางโครงสร้างของ Circuit Breaker สำหรับระบบไฟฟ้าแรงดันสูงจะ คล้ายกับชนิดแรงต่ำ แต่จะมีส่วนที่แตกต่างกันใน อุปกรณ์สั่งตัดตอน (Tripping Unit) เท่านั้น ใน CB แรงดันต่ำการ Trip เกิดจาก Thermal Trip Unit หรือ Electro Magnetic Trip Unit ซึ่งเป็นลักษณะของส่วนประกอ บหลัก (Built-In Unit) ในตัวอุปกรณ์ ...แต่ CB ในระบบแรงดันไฟส ูง ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวในตัวเ อง CB จะรับสัญญาณ Overload Current หรือ Short Circuit Current จากอุปกรณ์ตรวจจับภายนอก (Protective Relay) แล้วสั่งให้ Shunt Trip หรือ No-Voltage Release Coil ตัด CB ออกจากการจ่ายไฟฟ้า Circuit Breaker ไฟฟ้าแรงดันสูงมีพัฒนาการมา นาน พอจะเรียงลำดับรุ่นต่างๆได้ ดังนี้ 1) Air Circuit Breaker (ACB) เป็นพัฒนาการรุ่นแรกที่ใช้ว ิธีการดับ Arc ในอากาศภายในช่อง Arc-Chute สามารถทำได้ถึงระดับแรงดันไ ฟฟ้า 24kV สูงสุด การทำงานเหมือน ACB ชนิดไฟฟ้าแรงต่ำ แต่ขณะเปิด-ปิด วงจรจะมีเสียงดังมาก บางครั้งเหมือนเสียงระเบิดล ูกเล็กๆ 2) Oil Circuit Breaker (OCB) เป็นพัฒนาการที่สูงขึ้นโดยใ ช้น้ำมันมาเป็นฉนวนไฟฟ้า และใช้ในการดับ Arc ที่เกิดขึ้น พัฒนาการในรุ่นแรกๆ จะเป็นแบบ Maximum Oil Circuit Breaker ถังน้ำมันจะมีขนาดใหญ่ ช่องที่ออกแบบไว้สำหรับ Main Contact และ Arc-Chute ต่างๆ จะใหญ่โต จึงต้องบรรจุน้ำมันเป็นปริม าณมากๆ ต่อมาได้พัฒนาให้มีขนาดเล็ก ลง เป็นรุ่น Minimum Oil Circuit Breaker โดยการพัฒนาวัสดุต่างๆ รวมถึงเทคนิคการออกแบบ ทำให้ขนาดอุปกรณ์เล็กลงพอจะ บรรจุอยู่ในกระบอกเล็กๆ ที่ใส่น้ำมันไว้เพียงเล็กน้ อย ระดับแรงดันที่ทำได้สูงสุดค ือ 69kV 3) Vacuum Circuit Breaker (VCB) เป็นพัฒนาการที่จะทำให้อุปก รณ์มีขนาดเล็กลงโดยให้ส่วนท ี่มีไฟฟ้า เช่น หน้าสัมผัสต่างๆ อยู่ภายในกระบอกสุญญากาศ นั่นคือ Arc ที่เกิดขึ้นในสุญญากาศจะมีน ้อยมาก (ไม่มีสุญญากาศที่แท้จริงใน กระบอก) อุปกรณ์ที่ใช้โดยทั่วไปจะคล ้ายของ Minimum Oil พัฒนาการทำให้สูงสุดถึง 36kV นิยมใช้แพร่หลายในญี่ปุ่น และบางประเทศในยุโรป 4) Gas Circuit Breaker (GCB) เป็นพัฒนาการชนิดที่สามารถใ ช้กับระบบไฟฟ้าแรงดันสูง เช่น 69kV, 115kV, 230kV และ 500kV ต้นกำเนิดของอุปกรณ์เริ่มจา กระดับแรงดันสูงๆ อย่างนี้เพราะมีราคาแพงมาก ...ภายหลังที่เทคนิคการผลิต และปริมาณการใช้เริ่มสูงขึ้ นจึงทำให้มีราคาถูกลงจนนำมา ใช้ในระบบ 69kV, 24kV ได้อย่างแพร่หลาย ก๊าซที่ใช้เป็นชนิด SF6 ขนาดของอุปกรณ์กะทัดรัด บางยี่ห้อจะมีอุปกรณ์วัดแรง ดันก๊าซภายในกระบอก แต่บางยี่ห้อไม่มีโดยอ้างว่ า Baring ที่ใช้เป็นชนิดน้ำมัน 2 ชั้น ที่ก๊าซไม่มีโอกาสรั่วออกมา เลย ตลอดเวลามากกว่า 20 ปี ส่วนยี่ห้อที่มีอุปกรณ์วัดแ รงดันก๊าซนั้น Baring ที่ใช้มีวิธีการ Seal ก๊าซโดยใช้ Double O-Ring ที่เป็นยาง แต่อย่างไรก็ตามอุปกรณ์ได้ม ีการออกแบบไว้ให้มีความปลอด ภัยโดยหากเกิดการรั่วของก๊า ซแล้ว สุดท้ายจะยังคงมีก๊าซอยู่ภา ยในกระบอกซึ่งมีแรงดันเท่าก ับ 1 บรรยากาศ และเพียงพอให้อุปกรณ์ Trip ได้ 1 ครั้ง โดยไม่เกิดอันตรายแต่อย่างใ ด หลังจากนั้นระบบจะ Lock ไม่ให้เกิดการสับสวิทซ์ต่อไ ป Cr. ความรู้เบื้องต้นวิศวกรรมงา นระบบ_EEC
ค่า Icu, Ics, Icw ของเบรกเกอร์ คืออะไร ?
Ic (Interrupting Capacity) เป็นพิกัดการทนกระแสลัดวงจร สูงสุดโดยปลอดภัยของเบรคเกอ ร์นั้นๆ โดยปกติกำหนดค่าการทนกระแสเ ป็น kA. ค่า Ic จะบอกให้รู้ว่าเบรคเกอร์ที่ ใช้นั้นมีความปลอดภัยมากน้อ ยเพียงใด การเลือกค่ากระแส Ic จะต้องรู้ค่ากระแสลัดวงจร ณ. จุดนั้นๆ เสียก่อน
พิกัดการทนกระแสลัดวงจรสูงส ุด Interrupting Capacity (Ic) ตามมาตรฐาน IEC60947-2 แล้วสามารถแบ่งเป็น 4 ป ระเภทคือ *** 1) Icu หรือ Icn (Rated short-circuit breaking capacity) หมายถึงพิกัดการทนกระแสลัดว งจรสูงสุดโดยปลอดภัยของเบรค เกอร์ ตามมาตรฐานแล้วจะระบุเป็นค่ า r.m.s ของกระแสไฟสลับ โดยถือว่าส่วนประกอบ transient กระแสตรง (ค่า DC. Transient ) เป็นศูนย์ พิกัดกระแสดังกล่าวในภาคอุต สาหกรรมเรียกว่า ค่า Icu (Rated ultimate s.c. breaking capacity) ส่วนภาคที่อยู่อาศัยเรียกว่ า Icn ปกติจะมีหน่วยเป็น kA r.m.s. การทดสอบค่า Icu หรือ Icn ตามมาตรฐาน IEC มี 3 ลักษณะคือ 1.1) Operating sequences(open-close/ open) คือการทดสอบการทนกระแสลัดวง จร โดยทำการปิดและเปิดวงจร ของเบรคเกอร์ขณะมีกระแสลัดว งจร 1.2) Current and voltage phase displacement คือการทดสอบการทนกระแสลัดวง จรที่ค่า power factor ต่างๆ กัน ซึ่งพบว่าถ้า power factor = 1 จะปลดวงจรง่ายกว่า และถ้า power factor มีค่าต่ำเท่าใดการปลดวงจรยิ ่งทำได้ยากเท่านั้น ซึ่งสอดคล้องกับความเป็นจริ งที่ว่าระบบไฟฟ้าส่วนใหญ่เป ็น lagging power factor และยิ่งมีกระแสลัดวงจรสูงเท ่าใด (อยู่ใกล้ generator หรือหม้อแปลงขนาดใหญ่) ค่า power factor ก็ยิ่งต่ำลง 1.3) Dielectric withstand capability คือการทดสอบความเป็นฉนวนของ โครง (case) ของเบรคเกอร์ หลังจากการ short-circuit ไปแล้วว่ายังคง *** 2) Icm (Rated making capacity) หมายถึงพิกัดการทนกระแสลัดว งจรสูงสุดที่เป็น peak current ที่เบรคเกอร์ สามารถทนได้ และทำการปลดวงจรแบบทันทีทัน ใด (instantaneous) โดยไม่มีการหน่วงเวลาที่แรง ดันพิกัด (rated voltage) ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ค่ากระแส peak มีความสัมพันธ์กับค่า Icu ด้วยตัวคูณ (k factor) ซึ่งต่างกันไปตามค่า power factor ของกระแสลัดวงจร ดังนี้ - (Icu) มากกว่า 6kA ถึง 10kA -> (power factor) = 0.5 -> (Icm) = 1.7 x Icu - (Icu) มากกว่า 10kA ถึง 20kA -> (power factor) = 0.3 -> (Icm) = 2 x Icu - (Icu) มากกว่า 20kA ถึง 50kA -> (power factor) = 0.25 -> (Icm) = 2.1 x Icu - (Icu) มากกว่า 50kA -> (power factor) =0.2 -> (Icm) = 2.2 x Icu *** 3) Icw (Rated short-time withstand current) ค่านี้ขึ้นอยู่กับประเภทของ switchgear แรงต่ำ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 3.1) ชนิด A คือระบบ switchgear ที่ไม่มีความต้องการให้มีกา รหน่วงเวลาในการทำงานของอุป กรณ์ magnetic trip (เป็นการปลดวงจรโดยอาศัยอำน าจแม่เหล็ก) ได้แก่ molded case circuit breaker ทั่วไป ดังนั้น molded case CB. จึงไม่มีค่า Icw 3.2) ชนิด B คือระบบ switchgear ที่สามารถหน่วงเวลาในการปลด วงจรได้ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถทำการ ปลดวงจรเป็นลำดับขั้น (discrimination) ในระบบ โดยเบรคเกอร์ตัวที่อยู่ใกล้ กระแสลัดวงจรที่สุดควรปลดวง จรก่อน ดังนั้นตัวที่อยู่ถัดไป (โดยเฉพาะตัว main) ต้องทนกระแสลัดวงจรซึ่งสูงก ว่าและเป็นเวลาที่นานกว่าได ้ โดยตัวมันเองไม่ปลดวงจรและไ ม่เสียหาย ค่าพิกัดและกระแสการลัดวงจร สูงสุดที่เบรคเกอร์ทนได้ในก รณีที่ต้องหน่วงเวลาเช่นนี้ เรียกว่า short-time withstand current rating (Icw) โดยปกติค่า Icw จะถูกระบุหรือทดสอบกับเบรคเ กอร์แบบ electronic trip เช่น Air circuit breaker หรือ molded case ประเภท heavy duty กล่าวโดยสรุป Icw คือค่ากระแสลัดวงจรสูงสุดสำ หรับเบรคเกอร์ชนิด B ที่สามารถทนได้ทั้งผลทางด้า นอุณหภูมิ , ความเค้นและ ความเครียดจากสนามแม่เหล็กท ี่เกิดขึ้น โดยตัวมันเองไม่เสียหายในช่ วงเวลาหนึ่ง ตามที่โรงงานผู้ผลิตระบุ *** 4) Ics (Rated service short short-circuit breaking capacity) เป็นค่าที่บอกให้รู้ว่าเมื่ อเบรคเกอร์ปลดวงจรหลังจากเก ิดการลัดวงจรครั้งแรกแล้ว เบรคเกอร์ตัวนั้นจะสามารถทน กระแสลัดวงจร ในครั้งถัดไปได้เท่าเดิมหรื อไม่โดยเทียบกับค่า Icu โดยระบุเป็นเปอร์เซ็นต์ของค ่า Icu เช่น 25 , 50 , 75 และ 100% เช่น เบรคเกอร์ตัวหนึ่งระบุค่า Ics = 0.5 Icu หมายความว่าเมื่อเบรคเกอร์ป ลดวงจรหลังจากเกิดการลัดวงจ รครั้งแรกแล้ว เบรคเกอร์ตัวนั้นจะสามารถทน กระแสลัดวงจร ในครั้งถัดไปได้เท่ากับ 50% ของ Icu * คัดลอกจากวารสารโอมห์ แมกกาซีน ฉบับที่1 มิถุนายน-สิงหาคม 2000 ในเครือ schneider electric*
การเกิดความร้อนสูงผิดปกติภ ายในเซอร์กิตเบรคเกอร์
ได้แสดงการเกิดความร้อนสูงผ ิดปกติภายในเซอร์กิตเบรคเกอ ร์ ซึ่งสาเหตุอาจจะเกิดจากเซอร ์กิตเบรคเกอร์มีการรับภาระท างไฟฟ้ามากทำให้หน้าสัมผัสห รืออุปกรณ์ภายในตัวเซอร์กิต เบรคเกอร์ชำรุด โดยการแก้ไขนั้นอาจจะต้องมี การถอดเซอร์กิตเบรคเกอร์เพื ่อดูส่วนประกอบภายในของเซอร ์กิตเบรคเกอร์ดูว่าอุปกรณ์ใ ดชำรุดบ้างก่อนที่จะเกิดควา มเสียหายหรือระเบิดขึ้น
เกิดความร้อนที่กับดักฟ้าผ่ าภายในสถานีไฟฟ้า
เป็นภาพการเกิดความร้อนขึ้น ที่ตัวกับดักฟ้าผ่าในสถานีไ ฟฟ้าของ กฟภ. ซึ่งการเกิดความผิดปกติดังก ล่าวอาจทำให้เกิดการระเบิดข องอุปกรณ์ดังกล่าวขึ้นได้โด ยไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้า ได้
การเกิดความร้อนสูงผิดปกติท ี่บุชชิ่งด้านไฟฟ้าแรงต่ำ
ได้แสดงการเกิดความร้อนสูงผ ิดปกติที่บุชชิ่งด้านไฟฟ้าแ รงต่ำภายในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจากการตรวจสอบเบื้องต้น ได้สันนิษฐานเบื้องต้นเกิดจ ากจุดต่อมีการกวดขันไม่แน่น เพียงพอ แต่เมื่อพนักงานได้ทำการตรว จสอบหม้อแปลงลูกอื่นๆบริเวณ ใกล้เคียงแล้วพบว่ามีลักษณะ สิ่งผิดปกติที่ใกล้เคียงกัน และจากการสอบถามช่างเทคนิดข องโรงงานได้ให้ข้อมูลว่าระบ บไฟฟ้าดังกล่าวเป็นที่เหมือ นกับประเทศญี่ปุ่น(110/ 220 โวลท์) และจากข้อมูลพื้นฐานดังกล่าวจึงพอสันนิษฐานได้ว่าสา เหตุการเกิดความร้อนสูงผิดป กติที่บุชชิ่งด้านไฟฟ้าแรงต ่ำน่าจะเกิดจากการจัดภาระทา งไฟฟ้าของหม้อแปลงไม่สมดุลย ์ภายในโรงงาน
การเกิดความร้อนสูงผิดปกติท ี่สายศูนย์
แสดงถึงการเกิดความร้อนสูงผ ิดปกติที่สายศูนย์ภายในโรงอ ุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส์ ซึ่งสาเหตุเกิดจากการจัดภาร ะทางไฟฟ้าไม่สมดุลย์ทำให้เก ิดกระแสไฟฟ้าไหลที่สายศูนย์ ขึ้น
การเกิดความร้อนที่ลูกถ้วยใ นระบบจำหน่ายไฟฟ้า
เป็นภาพด้วยกล้องส่องหาความ ร้อนซึ่งพบสิ่งผิดปกติ คือมีเกิดความร้อนขึ้นระหว่ างลูกถ้วยลูกที่ 1 และ ลูกถ้วยลูกที่ 2 และจากการสอบถามพนักงานที่เ กี่ยวข้อง ปรากฏว่าสิ่งผิดปกติดังกล่า วเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุ Preformed มีการสัมผัสกับโลหะด้านบนขอ งลูกถ้วย
การเกิดความร้อนสูงผิดปกติท ี่น็อตยึด BUSBAR
แสดงการเกิดความร้อนสูงผิดป กติที่น็อตยึด BUSBAR ซึ่งเกิดจากสาเหตุการสั่นสะ เทือนของหม้อแปลงซึ่งเป็นชน ิดติดตั้งภายในอาคารทำให้น็ อตยึด BUSBAR เกิดการสั่นสะเทือนด้วยและเ กิดการเสียดสีทำให้เกิดความ ร้อนขึ้น
การเกิดความร้อนสูงผิดปกติภ ายในกระบอกฟิวส์
เป็นภาพที่พนักงาน กฟภ. ได้ไปดำเนินการให้บริการแก่ ผู้ไฟภาคธุรกิจอุตสาหกรรม จากภาพดังกล่าวเป็นฟิวส์ป้อ งกันของคาปาซิเตอร์ ซึ่งจะเห็นได้ว่ากระบอกฟิวส ์เฟส C จะมีความร้อนสูงกว่าเฟสข้าง เคียงซึ่งสันนิฐานว่าชุดฟิว ส์ link ภายในกระบอกฟิวส์ดังกล่าวเร ิ่มเกิดการหลอมละลายทำความค วามร้อนสูงขึ้นผิดปกติ
การเกิดความร้อนที่สายดินขอ งสายเคเบิลใต้ดินในสถานีไฟฟ ้า
เป็นการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในส ถานีไฟฟ้าของ กฟภ. พบว่าเกิดความร้อนในสายดินข องสายเคเบิลใต้ดินในสถานีไฟ ฟ้า และจากการสอบถามพนักงานที่เ กี่ยวข้องและได้สันนิฐานว่า สิ่งผิดปกติดังกล่าวเกิดขึ้ นน่าจะมีเนื่องจากสาเหตุการ จัดเรียงลำดับเฟสของสายเคเบ ิลใต้ดินไม่เหมาะสม และหลังจากทราบสาเหตุเจ้าหน ้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ดำเนิ นการแก้ไขเป็นปกติแล้ว
เกิดความร้อนที่จุดต่อของสา ยดินเหนือหัวของเสาไฟฟ้าที่ มีการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า
เป็นภาพการเกิดความร้อนที่จ ุดต่อของสายดินเหนือหัวของเ สาไฟฟ้าที่มีการติดตั้งหม้อ แปลงไฟฟ้า จากการสอบถามพนักงานที่เกี่ ยวข้องและได้ดำเนินการแก้ไข พบว่าเกิดจากสายศูนย์ของระบ บไฟฟ้าแรงต่ำที่เสาไฟฟ้าข้า งเคียงสัมผัสกับดินเหนือหัว (Overhead Ground wire) ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าแยกไหลผ ่านสายดินเหนือหัวกลับไปยัง หม้อแปลง และจากภาพแสดงให้เห็นถึงการ จัดโหลดไม่สมดุลยของระบบไฟฟ ้าแรงต่ำ รวมทั้งการกวดขันจุดต่อของร ะบบสายดินเหนือหัวไม่แน่นเพ ียงพออีกด้วย